การตัดสินใจเกี่ยวกับสื่อ
สื่อเป็นวิธีการซึ่งมีการนําเสนอสารสนเทศและแลกเปลี่ยนประสบการณ์
ในขณะที่สื่อเป็นคําที่ใช้ อ้างถึงแบบของการเรียนการสอน (mode of
delivery) จึงเป็นความจําเป็นที่ต้องมีวัสดุอุปกรณ์ที่จะส่งผ่าน
แบบการเรียนการสอนนั้น ในทางตรรกะแล้วเป็นความจําเป็นทั้งส่วนที่เป็นอุปกรณ์ (hardware
) และส่วนที่
เป็นวัสดุ (software) สําหรับการเรียนรู้ที่อาศัยคอมพิวเตอร์เป็นฐานเช่นเดียวกันกับสื่อโทรทัศน์ที่ต้องอาศัยโปรแกรมเป็นฐาน
การตัดสินใจเกี่ยวกับสื่อสามารถทําได้ก่อน ทําตามหลัง
หรือทําไปพร้อมๆกับการตกลง วิธีการ โดยทั่วๆ ไปแล้ว
จะทําตามหลังหรือทําไปพร้อมๆกัน การบรรยายอาจจะต้องการองค์ประกอ
หรืออาจจะอยู่ในรูปแบบของโปรแกรมโทรทัศน์
ในสมัยก่อนวัสดุอุปกรณ์ส่วนใหญ่จะเป็นสื่อ สิ่งพิมพ์
ในตอนนี้จะได้กล่าวถึงการแบ่งวิธีการสื่อ ออกเป็นสามประเภท คือ วิธีการ (methods) สื่อ(traditional media) และเทคโนโลยีที่ใหม่กว่า
(newer technology) ในด้านวิธีการดําเนินหลักสูตร
โดยท่าน ซึ่งอาจจะรวมๆ กัน แต่จะใช้สื่อรวมๆ กัน ส่วนสื่อเดิมๆ จะรวมถึงงานพิมพ์ (print) และสื่อโสตร์ (audiovisual media) และสําหรับเทคโนโลยีใหม่
หรือสื่อดิจิทัล คือ การสื่อสารโทรคมนาคมและไมโล โพรเซสเซอร์ (microprocessor) สื่อ (media) สามารถจัดกลุ่มเป็นวัสดุสิ่งพิมพ์
(print materials) ทัศนวัสดุไป ฉาย (nonprojected
visuals) ทัศนวัสดุฉาย (projected visuals) สื่อประเภทเสียง (audio media) ระบบสื่อผสม (multimedia
Systems) ภาพยนตร์ (films) และโทรทัศน์
(television) สื่อแต่ละประเภทเหล่านี้สามารถแตกออก
ให้เลือกได้ในหลายรูปแบบ ดังแสดงในตารางที่ 18 และตารางที่ 19
การตัดสินใจเกี่ยวกับเทคโนโลยีใหม่สื่อดิจิทัล
เทคโนโลยีใหม่/สื่อดิจิทัล ประกอบด้วย การเรียนการสอนที่อาศัยคอมพิวเตอร์เป็นพื้นฐาน
(computer-based instruction) และการเรียนรู้ทางไกล
ที่อาศัยเทคโนโลยีการสื่อสารโทรคมนาคมเป็นพื้นฐาน (telecommunications-based
distance learning technologies) การเรียนรู้ทางไกลเกิดขึ้นเมื่อผู้เรียนอยู่ในสภานที่หนึ่ง
เทคโนโลยีใหม่มีให้เลือกหลากหลายรูปแบบ ดังแสดงที่ตาราง 18 นิยามศัพท์เฉพาะสือและ เทคโนโลยี
การพิจารณาเลือกสื่อ
สากการทั่วไปจํานวนมาก และข้อพิจารณาอื่นๆ
ในการเลือกสื่อที่เหมาะสมสําหรับการเรียนกาย สอน คือ
กฏในการเลือกสื่อและปัจจัยอื่นๆ ที่มีอิทธิพลต่อการเลือกสื่อ
ตารางที่ 18 ทางเลือกสําหรับสื่อดั้งเดิม
ทัศนวัสดุฉาย:
ไม่เคลื่อนไหว (Projected
Visuals : Stacle)
|
ทัศนวัสดุไม่ฉาย
(Non Projected
Visuals)
|
|
Opaque
Projection
|
Pictures
|
|
Overhead
Projection
|
Photographs
|
|
Slides
|
charts graphs
diagrams
|
|
Filmstrips
|
diagrams
displays-exhibits, feltboards, bulletin boards
|
|
สื่อ (Media) (Multimedia Presentation)
|
การนําเสนอด้านสื่อผสม
|
|
Records
|
sound slide
|
|
tape-reel
,cassette cartridge
|
multi-image
|
|
audio cards
|
film-
cassette ,multimedia kit
|
|
สิ่งพิมพ์
(Print)
(Projected Visuals : Stacie)
|
ทัศนะวัสดุฉาย
: ไม่เคลื่อนไหว
|
|
Text book
|
Film
|
Television
|
Programmed
text
|
8 mm
|
8mm
|
Super 8
mm 1 / 2 inch
|
||
16
mm 3/4 inch
|
||
35
mm 1
inch
|
||
เกมส์
(Games)
|
ของจริง
(Realia)
|
|
board
games
|
Models
|
|
simulation
games
|
Manipulative
|
|
Puzzles
|
Specimens
|
ที่มา :
Barbara
Seels and Zita Glasgow , Exercises in Instructional Design (Columbus, Ohio :
Merrill Publishing company,1990),p.182.
กฎในการเลือกสื่อ
การเลือกสื่อมีกฏอยู่ 6 ข้อ
หรือเรียกว่าหลักการทั่วไปในการพิจารณาก่อนที่จะตัดสินใจอย่างไม่เป็น
ทางการในการเลือกสื่อ
กฎที่ 1 การเรียนการสอนโดยทั่วไปแล้วต้องการสื่อสองทาง
(two way medium) นักเรียนจะ
เรียนได้ดีที่สุดเมื่อมีปฏิสัมพันธ์กับวัตถุ/สื่อการเรียนการสอน ครู สมุดทํางาน
หรือ โปรแกรมคอมพิวเตอร์
ช่วยสอน
กฎที่ 2 ชื่อทางเคียว (one-way
media) ควรจะได้รับการสนับสนุน โดยสือที่ให้ข้อมูลป้อนก
กาพยนตร์ หรือวีดิทัศน์ จะให้ประสิทธิผลมากกว่า เมื่อมีคู่มือการใช้ควบคู่ไปด้วย
หรือมีแบปฝึกตัวอย่างคือ ภาพยนตร์ หรือวีดิทัศน์ จะให้ประสิทธ ปฏิบัติควบคู่ไปด้วย
หรือมีครู ซึ่งสามารถที่จะถามคําถามและตอบคำถามได้
กฎที่ 3 การเรียนรู้ของแต่ละบุคคล
ต้องการสื่อที่มีความยืดหยุ่น ตัวอย่างคือ ผู้ที่เรียนเช้าอาจจะ
ต้องการสื่อการเรียนที่แตกแขนงออกไปเป็นพิเศษ เช่นการฝึกเสริม (remedial
exercises) ตัวอย่างเสริมเป็น พิเศษ สือภาพยนตร์
ควรจะส่งเสริมโดยการเยียวยาแก้ไขหรือมีกิจกรรมที่เหมาะสมกับความต้องการของแต่ง
ละบุคคล
โปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอนสามารถที่จะสนองตอบได้อย่างดีเลิศในความยืดหยุ่นที่มีต่อปัจจัย
บุคคล
กฎที่ 4 การนําเสนอโลกแห่งความเป็นจริง
ต้องการสื่อทางทัศนวัสดุ ตัวอย่างนักเรียนพยาบาล เรียนรู้วิธีการตัดไหม
จําเป็นต้องเห็นการสาธิต (ภาพยนตร์ วีดิทัศน์ การสาธิตของจริง) มากกว่าที่จะเขียน | ออกมาเป็นรายการของวิธีการตัดไหม
กฎที่ 5 พฤติกรรมที่คาดหวังหลังจากการเรียนการสอน
ควรจะให้มีการฝึกปฏิบัติในระหว่างที่มี การเรียนการสอน การได้ยิน
หรือการได้เห็นทักษะที่แสดงออกมาไม่เป็นการเพียงพอ ตัวอย่าง ผู้ปฏิบัติ
จําเป็นต้องทําการตัดไหมตามที่เห็นในวีดิทัศน์
ไม่ว่าจะเป็นการตัดไหมเทียมๆหรือตัดไหมจริงๆ
กฎที่ 6 เหตุการณ์แต่ละเหตุการณ์ของบทเรียนอื่นๆ
อาจต้องการการเลือกสื่อที่มีความแตกต่าง กัน ตัวอย่าง
ทฤษฎีที่อยู่บนหลักการของวิธีการทําหมัน อาจจะต้องการวัสดุอุปกรณ์ที่เป็นสิ่งพิมพ์
ในขณะที่ วิธีการตัดไหม อาจจะต้องการสาธิตที่มีความเป็นจริงมากกว่า (วีดิทัศน์
ภาพยนตร์ ฯลฯ)
ปัจจัยอื่นๆ ที่มีผลต่อการเลือกสื่อ
ได้มีการเรียนรู้กฏซึ่งจําเป็นในการพิจารณา
เมื่อมีการเลือกสื่อการเรียนการสอนเป็นความจําที่มอง หาปัจจัยอื่นๆ
ซึ่งจะส่งผลต่อการเลือกสื่อ
ตารางที่ 19 เทคโนโลยีใหม่
Telecommunication-based
Teleconferencing
Telelectures
Microprocessor-based
Computer-assisted
instruction
Computer
Games
Exper
Tutoring Systems
Hypermedia
Interactive
Video
Computer-managed
Instruction
Compact
Disc
ตารางที่ 20 ข้อควรพิจารณาในการเลือกสื่อ
ปัจจัย
|
ตัวอย่าง
|
1. สิ่งแวดล้อมในการเรียนรู้
|
บ้าน
ที่ทํางานชั้นเรียน ม้านั่ง
|
2. ประสิทธิผลในการลงทุน
|
ราคาต่อห้อง
และราคาในการดําเนินงาน
|
3. แหล่งวัสดุอุปกรณ์ที่มีประโยชน์เพียงพอ การพัฒนาภาพยนตร์ สตูดิโอ
การพิมพ์
|
วัสดุอุปกรณ์ที่มีความเหมาะสม
มีระเบียบเรียบร้อย
|
4. ความสะดวกในการใช้ตําแหน่งที่ตั้ง เวลาที่ สําหรับการเตรียมตัว
|
เช่นใช้มากน้อยเท่าไร
บ่อยเท่าไร ขนาดของกลุ่ม
|
5. สิ่งที่ไม่จําเป็น (Non-essentials)
|
สีมีความจําเป็นหรือไม่
ตําราเพียงพอ หรือ สไลค์ที่จะใช้ในการนําเสนอเพียงพอหรือไม่
|
6. ทรัพยากรมนุษย์หาได้ง่ายหรือไม่
|
ผู้ชํานาญการพิเศษด้านวิธีการผลิตสื่อหาได้ง่ายหรือไม่
|
7.นโยบาย
|
นโยบาย
เจตคติต่อต้านการเปลี่ยนแปลงข้อขัดแย้งต่างๆ
|
เพิ่มเติม
หลักการเลือกสื่อ
1.เลือกสื่อการสอนที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์การเรียนรู้
ผู้สอนควรศึกษาถึงวัตถุประสงค์การเรียนรู้ที่หลักสูตรกำหนดไว้
วัตถุประสงค์ในที่นี้หมายถึงวัตถุประสงค์เฉพาะในแต่ละส่วนของเนื้อหาย่อย
ไม่ใช่วัตถุประสงค์ในภาพรวมของหลักสูตร
2.เลือกสื่อการสอนที่ตรงกับลักษณะของเนื้อหาของบทเรียน เนื้อหาของบทเรียนอาจมีลักษณะแตกต่างกันไป เช่น
เป็นข้อความ เป็นแนวคิด เป็นภาพนิ่งภาพเคลื่อนไหว เป็นเสียง เป็นสี
ซึ่งการเลือกสื่อการสอนควรเลือกให้เหมาะสมกับลักษณะของเนื้อหา
3.เลือกสื่อการสอนให้เหมาะสมกับลักษณะของผู้เรียน ลักษณะเฉพาะตัวต่างๆ ของผู้เรียนเป็นสิ่งที่มีอิทธิพลต่อการรับรู้สื่อการสอน
ในการเลือกสื่อการสอนต้องพิจารณาลักษณะต่างๆ ของผู้เรียน เช่น อายุ เพศ ความถนัด
ความสนใจ ระดับสติปัญญา
การเลือกใช้สื่อการสอนอย่างมีประสิทธิภาพ
กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่จะบังเกิดทั้งประสิทธิผลและมีประสิทธิภาพสูงสุดนั้น
ครูผู้สอน
จะต้องมีความสามารถในการเลือกสื่อการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับจุดมุ่งหมายของการสอน
และ ลักษณะเฉพาะของผู้เรียนที่มีความแตกต่างกันไปในหลากหลายคุณลักษณะ
อย่างไรก็ตามในการเลือกใช้สื่อ การเรียนการสอนอย่างมีประสิทธิภาพนั้น
ครูผู้สอนจะต้องคำนึงถึงองค์ประกอบสำคัญดังต่อไปนี้ คือ
1. คำนึงถึงเกณฑ์ในการเลือกสื่อการเรียนการสอน
2. คำนึงถึงวัตถุประสงค์ทางการเรียนการสอน
3. คำนึงถึงเงื่อนไข
สภาพการณ์และกิจกรรมทางการเรียนรู้
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น